หลังสงครามโลก

-

เขียนโดย GUEST1586334392

วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2563 เวลา 15.32 น.

  1 ตอน
  9 วิจารณ์
  3,685 อ่าน

แก้ไขเมื่อ 8 เมษายน พ.ศ. 2563 15.33 น. โดย เจ้าของเรื่องเล่า

แชร์เรื่องเล่า Share Share Share

 

1) ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่2

อ่านบทความตามต้นฉบับ อ่านบทความเฉพาะข้อความ

ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่2 มืองตง ๆ ในยุโรปเต็มไปตัวยชากปรักทักพัง จากการทิ้งระเบิด เวียนนาก็ไม่ต่งกัน ที่ต้องสูญเสียโรงโอเปร่า (Vienna State Opera House) ไป พร้อมกับความเสียหายของอาคารสถานที่ราชการอื่น ๆ แต่เมื่อถามถึงความสมัครใจของชาวเวียนนา การซ่อมแซมโรงโอเปร่ากลับเป็น อาคารหลังแรก ๆ ที่พวกเขาอยากให้ทำโดยเร็วที่สุด แม้ว่าแหล่งเงินบูรณะส่วนหนึ่ง จะมาจากแผนมาร์แชล โครงการช่วยเหลือทางเศรษจูกิของสหรัฐอเมริกาแก่ ยุโรปตะวันตก และอีกส่วนหนึ่งมาจากงินภาษีของประชาชน แต่ทุกคนก็เต็มใจ จะสนับสนุน เพราะกาฟื้นฟูให้ดนตรีกลับมาโลดแล่นอีกครั้ง ไม่ใช่แค่เรื่อง วัฒนธรรมและศิลปะ แต่เป็นเสมือนหนึ่งการฟื้นฟูประเทศหลังสงคราม ภายใน ระยะเวลาเพียง 10 ปี โรงโอเปร่าแห่งกรุงเวียนนาก็กลับมาเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่ ด้วยอุปรากรที่สร้างสรรค์ออกมาเพียงเรื่องเดียวของบีโธเฟน (Ludwig ขan Beethoven) คือ ฟิเดลิโอ (Fdeli๐) พร้อมกับตารางการแสดงที่มีเกือบทุกวัน ในปัจจุบัน อันที่จริง เวียนนาก็ไม่ต่งจากทุกประเทศทุกเมืองในโลกที่มีดนตรีเป็น ส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม แต่ในศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิเวียนนา มีสภาพแวดล้อมที่ดีที่สุดสำหรับอุตสาหกรรมดนตรีคลาสสิก นอกเหนือจาก การอุ้มชูศิลปิน การเปิดรับนักดนตรีจากต่างถิ่นให้เข้ามาแสดงและสร้างสรรค์ งานร่วมกับดนตรีแขนงอื่น ๆ และที่สำคัญการไม่จำกัดให้ดนตรีคลาสสิกอยู่เฉพาะ กลุ่มชนชั้นสูง แต่เป็นความบันเทิงสำหรับประชาชนทั่วไป ทำให้เวียนนาเป็น ทั้งเวทีและตลาดที่มีขนาดใหญ่มากพอสำหรับบวิษัทโอเปร่าขั้นนำระดับโลก ทั้งยังเป็นแหล่งรวมช่างฝีมือในการสร้างสรรค์และซ่อมแชมตั้งแต่โรงโอเปร่า เครื่องดนตรี จุนถึงกระดาษโน้ตเพลง การเป็นเมืองแห่งดนตรีของเวียนนาจึงเป็น ความภาคภูมิใจมากกว่าความบันเทิง ในวันนี้ มีอีกหลายเมืองที่เป็นเมืองแห่งดนตรี ออสตินในมลรัฐเท็กซัส ได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีพื้นที่สำหรับแสดงดนตรีหลากหลายประเภทได้ฟรีมากกว่า ร้อยแห่ง เป็นบ้านเกิดของเทศกาลแสดงดนตรีจากศิลปินทั่วโลก และด้วย ค่าครองชีพที่ไม่สูงจนเกินไปนัก จึงเป็นเมืองที่เหมาะสำหรับการฟูมฟักนักดนตรี ที่มีความคิดสร้างสรรค์แหวกแนวซึ่งอาจจะเกิดยากในเมืองอื่น ออสตินจึงไม่เคย ขาดแคลนศิลปินหน้าใหม่ที่มาสร้างความเคลื่อนไหวให้กับเมือง สำหรับเวียนนาและออสดิน เสียง ที่ถูกแปรเปลี่ยนเป็นท่วงทำนองของดนตรี ทั้งคลาสสิกและร่วมสมัย กลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตและการพัฒนาเมืองที่ ก่อให้เกิดสิ่งต่าง ๆ ตามมามากมาย แต่ประสาทสัมผัสของคนเรานั้นยังสามารถ รับรู้เสียงได้อีกหลากหลายประภทที่สร้างความหมายแตกต่างกัน การได้ยินเสียง พลุเพียงอย่างเดียวก็ทำให้เรารู้สึกได้ถึงการเฉลิมฉลอง พอ ๆ กับเสียงบีบแตรรถยนต์ ดัง ๆบนท้องถนนที่มักใช้ควบคูปภาพยนตร์ที่มีฉากของกรุงเทพฯ หรือฮานอย เสียง จึงเป็นเหมือนทรัพยากรสำหรับนักขุดความคิดสร้างสรรค์ในการนำมาใช้ร่วมกับ ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ความรู้สึกร่วมที่ต้องการให้เกิดขึ้น จากการกล่อมเกลา ทางความคิดผ่านสื่อวิทยุ การผ่อนคลายและบำบัด จนเมื่อเราเข้าสู่ยุคดิจิทัล และการสร้างประสบการณ์คือพระเจ้าของการขายสินค้และบวิการ เสียง' จึงเป็น องค์ประกอบที่ไม่อาจละเลย พรสวรรค์ที่มีจึงถูกขยายความเพื่อการใช้งานที่ มากขึ้น นอกเหนือจากการเป็นนักร้องหรือนักดนตรี นั่นก็เพื่อให้เสียงที่ถูกผลิต ขึ้นมานั้นได้รับการส่งต่อไปยัง ใจ' ของคนฟังให้มากที่สุด

บทความนี้สนับสนุนโดย: บาคาร่า

 

คำยืนยันของเจ้าของเรื่องเล่า

✓ เรื่องนี้นำมาจากแหล่งอื่นและได้รับการอนุญาตจากเจ้าของแล้ว

คำวิจารณ์

* ต้องล็อกอินก่อนครับ ถึงสามารถเขียนวิจารณ์ได้


รอสักครู่กำลังโหลดข้อมูล
คำวิจารณ์เพิ่มเติม...

โหวต

เนื้อเรื่องมีความน่าสนใจ
0 /10
ความถูกต้องในการใช้ภาษา
0 /10
ภาษาที่ใช้น่าอ่าน
0 /10

* ต้องล็อกอินก่อนครับ ถึงสามารถโหวดได้


แบบสำรวจ

คุณคิดยังไงกับเรื่องเล่าเรื่องนี้

* สามารถกรอกแบบสำรวจโดยไม่ต้องเป็นสมาชิกก็ได้ครับ

 

อ่านเรื่องเล่าเรื่องอื่น

 
รอสักครู่กำลังโหลดข้อมูล
ข้อความ : เลือกเล่นเสียง
สนทนา