เลือกผนังกันความร้อน ยังไงให้เหมาะสมกับการใช้งาน

Jenniee

ขีดเขียนหน้าใหม่ (48)
เด็กใหม่ (0)
เด็กใหม่ (0)
POST:126
เมื่อ 28 กันยายน พ.ศ. 2565 17.04 น.

ผนังกันความร้อน หรือแผ่นฉนวนกันความร้อน มักใช้กับอุตสาหกรรมห้องเย็น ห้องคลีนรูม หรือคลังสินค้า ที่ต้องการกักเก็บ รักษาอุณหภูมิความเย็นให้คงที่ตามต้องการ เพื่อให้เหมาะสมกับสินค้า และวัตถุดิบที่ต้องการเก็บรักษา ให้คงสภาพไว้ได้ ซึ่งผนังกันความร้อนจะประกอบด้วยแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ทั้ง 2 ด้าน และมีฉนวนโฟมกันความร้อนตรงแกนกลาง และมีประเภทที่นิยมใช้กัน คือ PIR Foam และ EPS Foam

ผนังกันความร้อนแต่ละประเภทต่างกันอย่างไรบ้าง

  • PIR Foam หรือ PIR FIWall i370 ผนังกันความร้อน ปลอดภัย กันไฟ ไร้ควัน มีค่า Index สูงถึง 370 ที่กันไฟได้จริง รองรับความเย็นได้สูงสุด ถึง -60 องศาเซลเซียส ถึงอุณหภูมิ +35 องศาเซลเซียส สามารถทนไฟได้สูงสุดถึง 100 องศาเซลเซียส ทำให้ PIR FIWall i370 เหมาะกับการใช้งานเป็นผนังห้องเย็นทุกขนาด ทั้งห้องเย็น อุตสาหกรรม ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ รวมทั้งห้องเย็นสำเร็จรูปขนาดเล็กด้วย และไม่ได้มีเพียงแผ่นผนังอย่างเดียว แต่ยังมีแผ่นฝ้า หลังคา ประตูฉนวน โฟมพื้น

  • EPS Foam เป็นโฟมที่ผลิตมาจาก เม็ดพลาสติกเรซิ่น ที่ผ่านกระบวนการความร้อนจากไอน้ำ จนทำให้กลายเป็นเม็ดโฟม EPS สีขาว และอัดให้เข้ารูปในแบบแผ่น และหากเป็นฉนวนผนังกันความร้อน EPS ชนิด F-Grade จะไม่ลามไฟ หรือสามารถหน่วงไฟได้ช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น EPS Foam จึงเป็นผนังที่เหมาะกับการใช้งานกับห้องเย็นทุกขนาดทั้งเล็ก กลาง ใหญ่ หรือใช้สร้างห้องเย็นสำเร็จรูปขนาดเล็กก็ได้ รองรับความเย็นได้สูงสุด ถึง -60 องศาเซลเซียส ถึงอุณหภูมิ +25 องศาเซลเซียส และทนความร้อนได้สูงสุด ถึง +80 องศาเซลเซียส


เมื่อเปรียบเทียบผนังกันความร้อนทั้งสองชนิดจะเห็นได้ว่า PIR Foam หรือ PIR FIWall i370 มีคุณสมบัติโดดเด่นในเรื่องกันความร้อน ทนไฟ ไร้ควัน ซึ่งช่วยเพิ่มความมั่นใจและความปลอดภัยให้กับชีวิตและทรัพย์สินในโรงงานมากขึ้น PIR FIWall i370 จึงมีความคุ้มค่าในการลงทุนระยะยาวอย่างมาก เนื่องจากมีความทนทานไม่ต้องเปลี่ยนบ่อย ช่วยรักษาและกักเก็บความเย็นได้อย่างดี รวมถึงไม่ลามไฟเมื่อเทียบกับผนังชนิดอื่นๆ ซึ่งสามารถกันไฟได้ทั้งระบบ สามารถใช้เป็นผนัง ประตู ฝ้า เพด้านดานได้

 

 

โพสตอบ

* ต้องล็อกอินก่อนครับ ถึงสามารถเโพสตอบได้

 
รอสักครู่กำลังโหลดข้อมูล
ข้อความ : เลือกเล่นเสียง
สนทนา